Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  คุณลักษณะของเชื้อพันธุกรรมอ้อยพันธุ์ไทยและแนวทางการนำไปใช้ประโยชน์
Characteristics of Thai sugarcane (Saccharum spp. hybrids) cultivars and potential for utilization
Autores:  Amarawan Tippayawat
Werapon Ponragdee
Taksina Sansayawichai
Data:  2013-03-14
Ano:  2012
Palavras-chave:  Sugarcane
Saccharum spp. hybrids
Plant genetic
Thai sugarcane
อ้อย
การปรับปรุงพันธุ์
เชื้อพันธุกรรมพืช
การใช้ประโยชน์
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ประเทศไทย
Resumo:  Thai sugarcane clones are continuously developed to obtain new varieties from old outstanding clones. Most of good parents still gave good progenies. However, a few varieties are widely popular. According to this reason, the features of the 95 clones from recommended varieties, elite clones and land race clones were studied to find out good guidelines to utilize them to improve yield and high sugar content of new sugarcane clones. Each sugarcane clone was planted in 1 row per 5 meter long, and distance between row was 1.4 meters (harvest 3 meters) during April 2011 to April 2012 at Thaphra site, Khon Kaen Field Crops Research Center. Agronomical and botanical traits were recorded in every stage until the harvest. The results showed that more than 50% of clones, cane weight per square meter were distribute in 3-9 kg per square meter. Stem height at 4 months had a relation with stalk length at harvest and stalk length had a relation with cane weight. Brix at 8 months were ranged between 14 to 21%. Moreover, most of clones had brix value 16 to 18%. At 10 months, most of them were increase in brix values over 20%. The clone that provided > 22% brix value are 88-2-069, LK92-11, 7-35/7 and Khon Kaen 3. At harvesting (12 months), CCS value is dispersive between 4.0-16.9%. The clones providing CCS value >15% and producing consistently high brix are K90-54 and K84-200/SP50. Clone 88-2-069 showed higher brix from 7-12 months and CCS at harvest was13.5 %. The flowering of 62 clones were found at November-December and the 33 clones were no flower. Most of the outstanding clones came from the good parents, thus this study suggests 3 ways for utilization to breed new sugarcane clone including 1) the good clones are used as tester parent, 2) backcross to good parents, and 3) crossing between good clones

ประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพันธุ์อ้อยอย่างต่อเนื่อง อ้อยพันธุ์ใหม่ส่วนใหญ่เป็นการต่อยอดจากฐานพันธุกรรมของพันธุ์ดีเด่นเดิม พันธุ์ดีที่ได้รับคัดเลือกก็ยังคงมาจากคู่ผสมเดิมที่เคยให้ลูกที่ดีมาก่อน เช่น คู่ผสมระหว่าง K84-200 กับอีเหี่ยวแดง ให้ลูกที่เป็นพันธุ์รับรองหลายพันธุ์ เช่น คู่ผสมปี 1992 ได้พันธุ์ LK92-11, LK92-14, LK92-17, K92-60 และค่ผู สมในปี 1999 ได้พันธุ์ K99-72, K99-75 และK99-82 เป็นต้น แต่ทั้งนี้พันธุ์ที่ได้รับการยอมรับและปลูกกันอย่างแพร่หลายมีเพียงไม่กี่พันธุ์ ด้วยเหตุนี้จึงได้ทำการศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของอ้อยพันธุ์ไทย ทั้งพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะนำ พันธุ์ดีเด่นและพันธุ์พื้นเมือ ง จำนวน 95 พันธุ์ เพื่อหาแนวทางในการใช้พันธุ์ เหล่านี้ ในการปรับปรงุ พันธุ์อ้อยให้ได้พันธุ์ท ให้ผลผลิต อ้อยและน้ำตาลสูง โดยปลูก อ้อยพันธ์ลุ ะ 1 แถวๆ ยาว 5 เมตร ระยะห่างระหว่างแถว 1.4 เมตร (เกบ็ เกยี่ ว 3 เมตร) ระหว่างเดือนเมษายน 2554 ถึง เมษายน 2555 ที่แปลงทดลองท่าพระ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น บันทึกข้อมูลต่างๆ ในทุกระยะจนกระทั่งเก็บเกี่ย ว จากการศึกษาพบว่า น้ำหนัก ลำกว่า 50% ของพันธุ์ส่วนใหญ่ มีค่าอยู่ในช่วง 3-9 กิโ ลกรัม ต่อตารางเมตร ความสูงต้นที่อายุ 4 เดือนมีความสัมพันธ์กับความยาวลำเมื่อเก็บเกี่ยว และความยาวลำเมื่อเก็บเกี่ยวมีความสัมพันธ์กับน้ำหนักลำต่อตารางเมตร ค่าบริกซ์ที่อายุ 8 เดือน มีค่าอยู่ระหว่าง 14-21% และพันธุ์ส่วนใหญ่มีค่าบริกซ์ 16-18% เมื่ออายุ 10 เดือน ส่วนใหญ่มีความหวานเพิ่มขึ้น มีค่าบรกิ ซ์ 20% พันธุ์ที่มี ค่าบริก ซ์มากกว่า 22% คือ พันธุ์ 88-2-069, LK92-11, 07-35/7 และขอนแก่น 3 และที่อายุเก็บเกี่ยว (อ้อยอายุ 12 เดือน) ค่าซีซีเอสอยู่ระหว่าง 4.0-16.9% พันธุ์ที่ให้ค่าซีซีเอสเกิน 15% ได้แก่ พันธุ์ K90-54 และ K84-200/SP50 และมีพันธุ์อ้อยที่ให้ค่าบริกซ์สงู สม่ำเสมอ จากอายุ 7-12 เดือน คือ พันธุ์ 88-2-069 และมีค่าซีซีเอสเมื่อเก็บเกี่ยว 13.5% และจากการบันทึกการออกดอกพบว่า 62 พันธุ์มีการออกดอกและกระจายตัวอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม เป็นส่วนใหญ่ และมี 33 พันธุ์ไม่ออกดอก พันธุ์ที่มีลักษณะเด่นส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่มาจากพ่อ-แม่พันธุ์ที่มีลักษณะดี โดยได้เสนอ 3 แนวทางในการนำไปใช้ประโยชน์ของเชื้อพันธุ์เหล่านี้ คือ 1) ใช้พันธุ์ที่มีลักษณะ เด่นเป็นพ่อ-แม่พันธุ์ (Tester) 2) ผสมกลับไปหาพ่อ-แม่พันธุ์ที่ดี (Backcross) 3) นำลูกผสมที่มีลักษณะดีผสมพันธุ์กัน
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5312

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, Suppl. 3, p. 53-59

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 53-59
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional