Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  แนวทางการควบคุมโรคใบขาวอ้อยโดยการใช้เชื้อแบคทีเรียร่วมอาศัยในแมลงพาหะ
New bacterial symbiont in insect vector of sugarcane white leaf disease and its potential use as a control agent
Autores:  Jureemart Wangkeeree
Yupa Hanboonsong
Data:  2015-05-28
Ano:  2012
Palavras-chave:  Sugarcane
Sugarcane white leaf disease
SCWL
Leafhopper vector
Matsumuratettix hiroglyphicus
Matsumura
Bacterial symbiont
Betaproteobacteria
BAMH
Symbiotic control
Genetic modification
Pathogens resistance
อ้อย
โรคใบขาวอ้อย
เชื้อไฟโตพลาสมา
เพลี้ยจักจั่น
แมลงพาหะ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อแบคทีเรียร่วมอาศัยในแมลงพาหะ
การควบคุมโรค
การป้องกันแพร่ระบาดของโรค
การดัดแปลงลักษณะทางพันธุกรรม
ความต้านทานเชื้อสาเหตุโรค
Resumo:  Sugarcane white leaf (SCWL) disease is one of the most destructive sugarcane disease, threatening the sugarcane industry in Thailand. Up to now there are no effective methods to control SCWL disease. The purpose of this study was to identify bacterial symbionts in the leafhopper Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura) vector sugarcane white leaf disease for possible use in the symbiotic control method. The results from 16S rRNA analysis was found the most dominant bacterial type which belonging to Betaproteobacteria and did not closely match any sequences in the database. It was named “Bacterium Associated with M. hiroglyphicus” (BAMH). Natural population of the leafhopper was found BAMH in 98% of female and 94% of male leafhoppers. BAMH was found in all developmental stages including eggs, nymphs, and adults of insect vector. In addition 98% of female and 86% of male leafhoppers were infected with SCWL phytoplasma also were infected with BAMH. We speculate that BAMH is the bacteria symbiont of M. hiroglyphicus and might have mutualistic relation with the insect host. These results are the first report of bacterial symbionts in a leafhopper vector of SCWL disease and it is useful information for future research of symbiotic control development.

โรคใบขาวอ้อยก่อให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลมากที่สุด ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการใดที่สามารถป้องกันการเกิดหรือการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อหาชนิดของแบคทีเรียร่วมอาศัยอยู่ในเพลี้ยจักจั่น Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura) แมลงพาหะนำเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุของการเกิดโรคใบขาวอ้อยเพื่อเป็นตัวเลือกในการใช้ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคใบขาวอ้อย ตามวิธีการแบบ symbiotic control ผลการศึกษายีน 16S rRNA ของแบคทีเรีย พบว่าแบคทีเรียร่วมอาศัยในเพลี้ยจักจั่นชนิดที่พบมากที่สุด จัดอยู่ใน class Betaproteobacteria เป็นชนิดแบคทีเรียที่ยังไม่เคยมีรายงานในฐานข้อมูลมาก่อน จึงได้เรียกชื่อว่า “Bacterium Associated with M. hiroglyphicus” (BAMH) โดยประชากรในธรรมชาติของเพลี้ยจักจั่น M. hiroglyphicus ตรวจพบว่า มีแบคทีเรีย BAMH ในเพศเมีย 98% และ ในเพศผู้ 94% ซึ่งแบคทีเรีย BAMH สามารถตรวจพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตตั้งแต่ระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย และเพลี้ยจักจั่นที่พบเชื้อไฟโตพลาสมาจะตรวจพบแบคทีเรีย BAMH 98% ในเพศเมีย และ 86% ในเพศผู้ จากผลการศึกษานี้ คาดว่าแบคทีเรียชนิดนี้ มีความสัมพันธ์กับแมลงพาหะ จึงถือได้ว่าเป็นอีกตัวเลือกหนึ่งในการนำมาใช้ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคใบขาวอ้อยตามวิธีการแบบ symbiotic control
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5762

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, Suppl. 3, p. 267-273

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 267-273
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional