Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของสายพันธุ์ยีสต์ต่อสมรรถนะการให้ผลผลิตในโคนม
Effect of yeast strains on dairy cattle performance
Autores:  Vatsana Sirisan
Virote Pattarajinda
Kanit Vichitphan
Rattanaporn Leesing
Data:  2015-06-09
Ano:  2013
Palavras-chave:  Dairy cow
Yeast direct fed
Saccharomyces cerevisiae
Kodameae ohmeri
Feed supplements
Feed fortification
Dry matter intake
Body weight
Milk production
Milk composition
โคนม
ยีสต์
สายพันธุ์
การเสริมอาหารสัตว์
การให้อาหารสัตว์
การกินได้สิ่งแห้ง
สมรรถนะผลผลิต
ผลผลิตน้ำนม
องค์ประกอบน้ำนม
ปริมาณไขมันนม
Resumo:  Saccharomyces cerevisiae as animal feed additive has been widely used in order to promote growth and production performances. Consequently, the studies to screening local yeast strains were conducted to compare the respond between S. cerevisiae and Kodameae ohmeri on feed intake, body weight change, milk production and milk composition. Sixteen Holstein Friesian crossbreds, 450 ± 50 kg BW average were used in this study. Animal were allocated into completely randomized design (CRD) to the following 4 treatments: control group, 109 cells/d of S. cerevisiae, 106 and 109 cells/d of K. ohmeri. The results showed that addition of K. ohmeri with 109 cells/d was increased dry matter intake, body weight change and fat production compared to 106 cells/d and control group. Addition of S. cerevisiae and K. ohmeri with 109cells/d showed trend to increase dry matter intake, body weight change and milk fat compared to another group. This study indicated that yeast K. ohmeri is the alternative strain could be directly fed to animal apart from commercial strains

ยีสต์สายพันธุ์การค้า (Saccharomyces cerevisiae) ได้รับความนิยมเสริมในอาหารสัตว์ต่อสมรรถนะการให้ผลผลิต แต่ยังขาดข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับผลของการเสริมยีสต์สายพันธุ์อื่น ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการเสริมยีสต์ S. cerevisiae และ Kodameae ohmeri ต่อการกินได้ การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัว การให้ผลผลิตน้ำนม และ องค์ประกอบน้ำนม โดยใช้โคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน จำนวน 16 ตัว มีน้ำหนักตัวเฉลี่ย 450 ± 50 กิโลกรัม และใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) โดยแบ่งปัจจัยทดสอบออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม, เสริมยีสต์ S. cerevisiae ที่ระดับ 109 เซลล์/วัน เสริม K. ohmeri ที่ระดับ 106 และ เสริม K. ohmeri ที่ระดับ 109 เซลล์/วัน พบว่าการเสริมยีสต์ K. ohmeri ที่ระดับ 109 เซลล์/วัน มีผลเพิ่มการกินได้ การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัว และปริมาณไขมันนม แต่ผลผลิตน้ำนมและองค์ประกอบน้ำนมไม่แตกกันเมื่อเปรียบเทียบกับระดับการเสริมที่ลดลง และกลุ่มควบคุม และการเสริม S. cerevisiae และ K. ohmeri ที่ระดับ 109 เซลล์/วัน เท่ากัน พบว่าการเสริม K. ohmeri มีแนวโน้มเพิ่มการกินได้ การเพิ่มน้ำหนักตัวสุดท้าย และองค์ประกอบนำนม แต่ไม่มีผลต่อปริมาณน้ำนม ดังนั้นยีสต์ K. ohmeri จึงสามารถใช้เป็นสายพันธุ์ทางเลือกในการเสริมในอาหารสัตว์นอกเหนือจากยีสต์สายพันธุ์การค้า
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5800

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 105-109

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 105-109
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional