Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การจัดการจัดการศัตรูดาวเรืองแบบบูรณาการ
Integrated pest management in marigold
Autores:  Tasanee Jamjanya
Nutcharee Siri
Yuwarat Boonkaseam
Kanjana Khaeso
Data:  2015-06-03
Ano:  2013
Palavras-chave:  Marigold flower
Sycanus
Biological control
Trichoderma harzianum
Organic fertilizer
Integrated pest managemant
IPM
Survey
Yield
Profit
ดาวเรือง
ไม้ตัดดอก
มวนเพชฌฆาต
การควบคุมโดยชีววิธี
การควบคุมแมลงศัตรูพืช
การควบคุมโรคพืช
เชื้อราไตรโคเดอร์มา
ปุ๋ยหมักชีวภาพ
น้ำหมักชีวภาพ
ใบสะเดา
การจัดการศัตรูพืช
การจัดการแบบบูรณาการ
การสำรวจความเสียหาย
ผลผลิต
กำไร
Resumo:  The study of integrated pest management was performed in two farmers’ marigold field namely Ms. Liab and Ms Somchom at Muang district, Khon Kaen province. Randomized Complete Block Design (RCBD) was used with three treatments and four replications. T1- farmers’ practice, T2- control (no application of any insecticide and fungicide) and T3- integrated pest management (using trichoderma and released the predator, Sycanus sp.). In Ms. Liab’s plots, neem extract was applied to control insect pest. The result showed the least flower damage (1.81 percent); the highest number of flowers (44,596) and profit of 25,383.4 Baht/rai in T3 which significant difference with T1. The T1 obtained the least number of flowers (35,131.6) and profit of 16,288.5 Baht/rai. However, T3 was not significant difference with T2. In Ms. Somchom’s plots, chemical insecticide was applied to control insect pest. All treatments showed no significant difference in terms of yield and profit.

การศึกษาการจัดการศัตรูดาวเรืองแบบบูรณาการ วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) มี 3 กรรมวิธี 4 ซ้ำ กรรมวิธีคือ T1- การปฏิบัติของเกษตรกร (นางเลียบ เถาว์ทิพย์และนางสมจอม วันสูทะ) T2- แปลงไม่มีการควบคุมโรคและแมลง T3- แปลงที่ใช้การจัดการแบบบูรณาการ (มีการควบคุมโรคและแมลงโดยใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาและปลดปล่อยมวนเพชฌฆาต) พบว่า แปลงของนางเลียบ เถาว์ทิพย์ (ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพและน้ำหมักจากใบสะเดา) แปลง T3 มีความเสียหายน้อยที่สุดร้อยละ 1.81 ปริมาณผลผลิตและกำไรต่อไร่สูงที่สุด เท่ากับ 44,596.1 ดอก และ 25,383.4 บาท แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับ แปลง T1 ให้ปริมาณผลผลิตรวมและกำไรน้อยที่สุด เท่ากับ 35,131.6 ดอก และ 16,288.5 บาท แต่ไม่แตกต่างกับแปลง T2 เช่นเดียวกับแปลงของนางสมจอม วันสูทะ (ใช้สารเคมีฆ่าแมลง) พบว่า แปลง T3 มีปริมาณผลผลิตรวมและกำไรมากที่สุด 34,046.9 ดอก และ 12,943.5 บาท รองลงมา คือ แปลง T1 ได้กำไร 12,134.5 ส่วนแปลง T2 ให้กำไร 11,386.9 บาท แต่จำนวนผลผลิตดอกดาวเรืองและกำไรในทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5779

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 171-176

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 171-176
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional