Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การสืบค้นหาแหล่งพันธุกรรมความต้านทานโรคใบหงิกและโรคเขียวเตี้ยของข้าวป่าและข้าวปลูก เพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์
Genetic study on ragged stunt and grassy stunt disease resistance in wild rice and cultivated rice for incorporate in rice breeding program
Autores:  Kanuengnij Srivilai
Witchuda Rattanakarn
Suniyom Taprap
Rogelio Cabunagan
Data:  2015-05-11
Ano:  2013
Palavras-chave:  Wild rice
Cultivated rice
Ragged stunt disease
Grassy stunt disease
Plant disease resistance
Plant breeding
ข้าวป่า
ข้าวปลูก
โรคใบหงิก
โรคเขียวเตี้ย
เชื้อไวรัส
ความต้านทานโรคพืช
การปรับปรุงพันธุ์
แหล่งพันธุกรรม
การทดสอบพันธุ์
Resumo:  Total of 130 rice accessions from IRRI were tested for resistance to rice ragged stunt virus (RRSV) and rice grassy stunt virus (RGSV). The viruses were transmitted by brown planthopper (BPH) vector. Virus-carrying BPH was transferred to healthy seedlings in mylar cakes. Disease symptom was observed and scored at 30 days after inoculation. Viral infection was also detected by ELISA test. Visual score showed RRSV and RGSV infection ranged from 5.00-78.57% and 7.14-100%, respectively. The results correspond to that of ELISA test, but the ELISA test gave higher percentage of infection. Based on percentage of infection and disease index, 12 accessions were identified as resistance to RRSV; 37 accessions as moderately resistance; 25 accessions as tolerance. No accessions were resistant to RGSV. Keywords: wild rice, cultivated rice, ragged stunt disease, grassy stunt disease, resistance

ทดสอบปฏิกิริยาความต้านทานโรคของข้าวป่าและข้าวปลูก ต่อเชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบหงิกและโรคเขียวเตี้ย โดยใช้เชื้อพันธุกรรมข้าวจากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ จำนวน 130 สายพันธุ์ ถ่ายทอดเชื้อไวรัส โดยใช้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเป็นแมลงพาหะ ทำการทดสอบในกรงตาข่ายพร้อมกันทุกสายพันธุ์ บันทึกอาการ ของโรค 30 วัน หลังจากถ่ายทอดเชื้อไวรัส เปรียบเทียบกับการตรวจสอบด้วยวิธี ELISA ผลการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบหงิกและโรคเขียวเตี้ยจากการประเมินด้วยสายตา อยู่ในช่วง 5.00 -78.57 เปอร์เซ็นต์ และ 7.14 – 100 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับผลจากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ELISA แต่การตรวจสอบด้วยวิธี ELISA มีค่าเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคสูงกว่า จากการประเมินความต้านทานต่อโรคใบหงิก พบว่า มีสายพันธุ์ข้าวต้านทานต่อโรค (R) จำนวน 12 สายพันธุ์ ต้านทานต่อโรคปานกลาง (MR) จำนวน 37 สายพันธุ์ และ ทนทานต่อโรค (T) จำนวน 25 สายพันธุ์ แต่ไม่สายพันธุ์ข้าวที่ต้านทานต่อโรคเขียวเตี้ย
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2012: Rice research center groups in central, eastern and western region], Bangkok (Thailand), p. 80-93

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5688

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ประจำปี 2555, กรุงเทพฯ, หน้า 80-93
Formato:  315 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional