Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การปรับปรุงคุณค่าทางโภชนะของกากปาล์มน้ำมันรวมโดยใช้ยีสต์และบาซิลัสซับติลิสเพื่อเป็นแหล่งอาหารโปรตีนสำหรับสัตว์
The modified nutrient composition of crude palm oil meal by Saccharomyces cerevisiae and Bacillus subtilis for development as protein feedstuff
Autores:  Manat-Sanun Nopparatmaitree
Jiratthawat Sri-Onlaed
Wutthikorn Srakaew
Warangkana Kitpipi
Data:  2015-05-27
Ano:  2014
Palavras-chave:  Crude palm meal
Sacharomyces cerevisiae
Bacillus subtilis
Microorganism
Feedstuff
Modified
Nutrient composition
In vitro protein digestibility
Feed production
กากปาล์มน้ำมันรวม
ยีสต์
บาซิลัสซับติลิส
เชื้อจุลินทรีย์
การหมัก
อาหารสัตว์
การปรับปรุงโภชนะ
คุณค่าทางโภชนะ
แหล่งอาหารโปรตีน
Resumo:  An experiment was conducted to study on modified nutrient composition of crude palm meal by Sacharomyces cerevisiae and Bacillus subtilis for development as protein feedstuff. The experimental design was 4 x 3 factorial in completely randomized design (CRD) with two factors. Factor A was fermented period (0, 15, 30 and 45 day), factor B was type of microorganism (Sacharomyces cerevisiae: SC-105 (S), Bacillus subtilis: BSC-23 (B), and S+B (50:50)). The results were shown that there was interaction between factor A and factor B on weight yield (3,090.56-3,730.33 g) and percentage yield (47.62-57.43%) (P<0.01). The nutrient composition of crude palm meal that fermented by Sacharomyces cerevisiae showed higher crude protein than that fermented by Bacillus subtilis and combined microbial S+B (50:50) group. Fermentation for 45 days produced highest crude protein (P<0.01) and protein digestibility with pepsin enzyme 72.99% was significantly (P>0.05).

การศึกษาการปรับปรุงคุณค่าทางโภชนะของกากปาล์มน้ำมันรวมด้วยการหมักร่วมกับยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae) และ บาซิลัสซับติลิส (Bacillus subtilis) เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งอาหารสำหรับสัตว์ โดยใช้แผนการทดลองแบบ 4 x 3 factorial in completely randomized design (CRD) แบ่งเป็น 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย A คือ ช่วงเวลาที่ใช้ในการหมัก (0, 15, 30 และ 45 วัน) ปัจจัย B คือ ชนิดของเชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้ (Saccharomyces cerevisiae สายพันธุ์ SC-105 (S), Bacillus subtilis สายพันธุ์ BSC-23 (B) และเชื้อผสมระหว่าง S+B (50:50)) ผลการทดลอง พบว่า มีอิทธิพลร่วมของ ทั้งสองปัจจัยต่อน้ำหนักผลผลิต (3,090.56-3,730.33 กรัม) และเปอร์เซ็นต์ผลผลิต (47.62-57.43%) อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) เมื่อทำการวิเคราะห์โภชนะของกากปาล์มน้ำมันรวมที่ผ่านการปรับปรุงโภชนะด้วยเชื้อจุลินทรีย์ ที่ระยะเวลาแตกต่างกัน พบว่าการใช้ยีสต์จะทำให้ค่าโปรตีนในผลิตภัณฑ์สูงกว่าการใช้เชื้อบาซิลัสซับติลิสและเชื้อผสม S+B (50:50) (P<0.01) นอกจากนี้ระยะเวลาในการหมักที่ 45 วัน จะให้ค่าโปรตีนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) โดยค่าโปรตีนที่ได้นั้นจะมีค่าการย่อยได้ด้วยเอมไซม์เปปซินเท่ากับ 72.99%
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5759

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 351-357

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 351-357
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional