Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสม กขผ1 เชิงพาณิชย์
Development for commercial seed production of hybrid rice variety RDH1
Autores:  Pornsuree Kanjana
Wilai Palawisut
Data:  2015-05-14
Ano:  2014
Palavras-chave:  Seed production
Three-line hybrid
Dirty panicle disease
Propiconazole disease
Tranplanting machine
RDH1 variety
Commercial production
Production development
Hybrid rice variety
Transplanting
Production process
การผลิตเมล็ดพันธุ์
ข้าวลูกผสมระบบ 3 สายพันธุ์
โรคเมล็ดด่าง
โพรพิโคนาโซล
เครื่องปักดำ
พันธุ์ กขผ1
เมล็ดพันธุ์
การรับรองพันธุ์
การพัฒนาการผลิต
วิธีการผลิต
การตกกล้า
การออกดอก
การป้องกันโรค
การผลิตเชิงพาณิชย์
Resumo:  RDH1 is the first hybrid rice variety being released by Rice Department. It is ideal for irrigated areas due to it’s high yield characteristics. Despite the high yield, seed production procedures of hybrid rice are more complicated than the normal ones as hand transplanting is needed. Procedures start from transplanting two sowing dates of male parental line JN43-1-5-5-1-3-1 (R-line) prior to that of the female one, IR79156A (A-line). Furthermore, flag leaf has to be cut off and hand-pollination is needed. The flag leaf cutting leads to the occurrence of dirty panicle disease and therefore the application of fungicide. This increases the cost of production which is unfavorable for the farmers. Thus, transplanting machine is introduced to improve the efficiency of hybrid rice seed production. However, sowing parental lines at different sites, seasons and methods causes variation in flowering dates. The objective of this study is to observe the flowering dates of R–line and A-line being transplanted by the transplanting machine. R-line was sown at 3 sowing dates in the seed bed prior to A-line. Later, both lines were transplanted at the same time every 15 days. The application time of fungicide for controlling dirty panicle, propiconazole, is then studied. Results revealed that if seeds were sown from early July-early November, R-line had to be sown 18 and 11 days prior to A-line. If sown from mid November-early December, R-line had to be sown 14 and 7 days prior to A-line. If sown from mid December-early March, R-line had to be sown 20 and 13 days prior to A-line. If sown from mid March-mid June, R-line had to be sown 15 and 8 days prior to A-line. For fungicide application study, it was found that treatment having flag leaf cut without fungicide application had the highest dirty panicle severity on both the panicle and seed being 6.8 and 3.11 respectively. All treatments having flag leaf cut and propiconazole applied showed 5.9 -6.5 dirty panicle severity on the panicle and 2.40-2.79 on the seed which were not significantly different from those without flag leaf cut and no propiconazole applied. Furthermore, the application of GA3 had increased seed set being 16.5%. This was higher than those without GA3 being 10.3 - 12.8%. In terms of grain yield, results from all treatments were not significantly different due to high temperature at flowering stage causing high sterility.

กขผ1 เป็นข้าวลูกผสมพันธุ์แรกที่รับรองพันธุ์โดยกรมการข้าว ซึ่งให้ผลผลิตสูงเหมาะสำหรับพื้นที่ในเขตชลประทาน แต่การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ยุ่งยากมากกว่าการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวทั่วไป เพราะต้องใช้แรงงานคนปักดำ โดยปักดำสายพันธุ์พ่อ JN43-1-5-5-1-3-1 (R-line, R) ที่มีการตกกล้าต่างเวลากัน 2 รุ่นก่อน แล้วจึงมาปักดำสายพันธุ์แม่ IR79156A (A-line, A) นอกจากนี้ยังต้องมีการตัดใบธงและช่วยการผสมเกสร เป็นสาเหตุให้เชื้อราเข้าทำลายเมล็ดเกิดโรคเมล็ดด่างขึ้น จำเป็นต้องใช้สารเคมีป้องกันกำจัด ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ไม่เป็นที่ยอมรับของเกษตรกร การนำเครื่องปักดำเข้ามาพัฒนาวิธีการปลูก จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมให้เป็นที่ยอมรับของเกษตรกรมากขึ้น แต่การปลูกข้าวสายพันธุ์พ่อและแม่ในต่างพื้นที่ ต่างฤดู และต่างวิธีกัน จะมีความแปรปรวนของวันออกดอกเกิดขึ้น การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวันออกดอกของ R และ A ที่ปักดำด้วยเครื่องปักดำโดยตกกล้า R 3 รุ่น ก่อนตกกล้า A แล้วปักดำพร้อมกัน ทุก 15 วันและศึกษาช่วงเวลาในการพ่นสารโพรพิโคนาโซล เพื่อการป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่าง พบว่า การตกกล้าช่วงกลางเดือนกรกฎาคม – ต้นเดือนพฤศจิกายน ควรตกกล้า R ก่อน A 18 และ 11 วัน ช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน – ต้นเดือนธันวาคม ควรตกกล้า R ก่อน A 14 และ 7 วัน ช่วงกลางเดือนธันวาคม – ต้นเดือนมีนาคม ควรตกกล้า R ก่อน A 20 และ 13 วัน ช่วงกลางเดือนมีนาคม – กลางเดือนมิถุนายน ควรตกกล้า R ก่อน A 15 และ 8 วัน และพบว่า ข้าวที่ตัดใบธงแล้วไม่พ่นสารโพรพิโคนาโซล จะมีอาการเป็นโรคเมล็ดด่างที่รวงข้าวสูงสุด (6.8) และระดับความรุนแรงของโรคบนเมล็ดข้าวสูงสุด (3.11) ส่วนข้าวที่ตัดใบธงร่วมกับการพ่นสารโพรพิโคนาโซล ในทุกกรรมวิธี แสดงอาการเป็นโรคที่รวงข้าว (5.9 – 6.5) และระดับความรุนแรงของโรคบนเมล็ดข้าว (2.40 – 2.79) ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับข้าวที่ไม่ตัดใบธง และไม่พ่นสารโพรพิโคนาโซล นอกจากนี้ การพ่น GA3 ยังมีผลต่อเปอร์เซ็นต์การติดเมล็ด ทำให้ได้เมล็ดดี (16.5%) สูงกว่ากรรมวิธีที่ไม่พ่น GA3 (10.3 – 12.8%) ส่วนผลผลิตของข้าวในทุกกรรมวิธีไม่แตกต่างกันทางสถิติ เนื่องจากข้าวกระทบอากาศร้อนจัดในช่วงออกดอก ทำให้ข้าวไม่ผสมเกสร เมล็ดจึงลีบเป็นส่วนใหญ่
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in upper and lower northern region], Chainat (Thailand), p. 243-259

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5692

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2557, ชัยนาท, หน้า 243-259
Formato:  434 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional