Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการใช้วัสดุอินทรีย์ต่อการตอบสนองของข้าวในดินเค็ม
Effect of organic materials on rice response under saline soil
Autores:  Konkanok Paopo
Porntip Srimongkol
Suphasit Sitthaphanit
Wimolnan Kanket
Data:  2015-05-27
Ano:  2014
Palavras-chave:  Rice
Sesbania
Rice straw
Organic material
Saline soil
Soil management
Soil amendments
Organic material application
Photosynthesis
Yield
Plant response
Rice production
ข้าว
โสนอัฟริกัน
ฟางข้าว
วัสดุอินทรีย์
ดินเค็ม
การจัดการดิน
การปรับปรุงดิน
การตอบสนองของพืช
การสังเคราะห์แสง
อัตราผลผลิต
การผลิตข้าว
Resumo:  Rice growth and yield are adversely affected by soil salinity. The application of organic matter is a successful technique for saline soil remediation. The experiment was conducted to determine the effect of different organic materials on the response of rice in saline soil. Experimental design was a randomized complete block with 4 replicates comprised 4 treatments: 1) no organic material application (control) 2) sesbania application at the rate of 1,000 kg/rai 3) rice straw application at the rate of 1,000 kg/rai and 4) sesbania at the rate of 500 kg/rai and rice straw at the rate of 500 kg/rai. The result were shown that sesbania and rice straw treatment had the highest rice dry weight in all growth stages, the highest nutrient uptake at booting stage, grain yield and were significantly different as compared with control. In addition, we found that photosynthesis rates of rice increased with increasing light intensity from 0 to 1800 μ mol CO2 m-2s-1 in most treatment, but with the exception of control, which decreased after increasing light intensity over 1400 μ mol CO2 m-2s-1.

ข้าวที่ปลูกในพื้นที่ดินเค็มมีการเจริญเติบโตและผลผลิตต่ำ การปรับปรุงดินเค็มโดยใช้วัสดุอินทรีย์สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตของข้าวในพื้นที่ดินเค็มได้ วัตถุประสงค์ของการทดลองเพื่อศึกษาผลของการใช้วัสดุอินทรีย์ต่อการตอบสนองของข้าว ในด้านความสามารถในการสังเคราะห์ด้วยแสงการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตในสภาพดินเค็ม วางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 4 ซ้ำ 4 ตำรับการทดลอง ประกอบด้วย 1) ไม่ใส่วัสดุอินทรีย์ (ตำรับควบคุม) 2) ใส่โสนอัฟริกัน อัตรา 1,000 กก./ไร่ 3) ใส่ฟางข้าว อัตรา 1,000 กก./ไร่ และ4) ใส่โสนอัฟริกันอัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับฟางข้าว อัตรา 500 กก./ไร่ ผลการทดลองพบว่าตำรับการทดลองที่ใส่โสนอัฟริกันร่วมกับฟางข้าวทำให้ข้าวมีน้ำหนักแห้งส่วนเหนือดินสูงที่สุดแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับตำรับควบคุมทุกระยะการเจริญเติบโต ตำรับการทดลองที่มีการใส่โสนร่วมกับฟางข้าวมีการดูดใช้ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมสูงที่สุด (4.32, 0.14 และ 6.71 กก./ไร่ ตามลำดับ) ตำรับการทดลองที่ให้ผลผลิตข้าวสูงที่สุดคือการใส่โสนอัฟริกัน (295.52 กก./ไร่) แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติกับตำรับการทดลองที่ใส่โสนอัฟริกันร่วมกับฟางข้าว (278.88 กก./ไร่) นอกจากนี้การศึกษาการตอบสนองด้านความสามารถในการสังเคราะห์ด้วยแสงของข้าวที่ปลูกในสภาพดินเค็ม พบว่าข้าวในตำรับการทดลองที่ใส่วัสดุอินทรีย์มีความสามารถในการสังเคราะห์แสงได้อีกเมื่อแสงเพิ่มขึ้นจาก 0-1,800 μ mol CO2 m-2s-1 นอกจากนี้ตำรับควบคุมมีค่าการสังเคราะห์แสงลดลงเมื่อความเข้มแสงสูงกว่า 1,400 μ mol CO2 m-2s-1
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5754

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 82-88

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 82-88
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional