Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Ordenar por: 

RelevânciaAutorTítuloAnoImprime registros no formato resumido
Registros recuperados: 9
Primeira ... 1 ... Última
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
ผลของการใช้กากเมล็ดปาล์มน้ำมันต่อคุณลักษณะของสุกรขุน Thai Agricultural
ยุทธนา ศิริวัธนนุกูล.
Tipo: งานวิจัย Palavras-chave: ปาล์มน้ำมัน; สุกร อาหาร.
Ano: 2012 URL: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/3835
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
Potential of corn production in southern Thailand Thai Agricultural
Sujin Jinahyon.
Palavras-chave: Corn; Maize; Production; Southern; Thailand; ข้าวโพด; การผลิต; ยางพารา; ข้าว; ปาล์มน้ำมัน; มะม่วงหิมพานต์.
Ano: 1980 URL: http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/4000
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
การศึกษาปัญหาทางพืชกรรมปาล์มน้ำมันในประเทศไทย Thai Agricultural
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์; อนุชิต ชินาจริยวงศ์; รัตนา อุทยานุกูล.
Tipo: งานวิจัย Palavras-chave: ปาล์มน้ำมัน.
Ano: 2012 URL: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/5296
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
รายงานการวิจัยการศึกษาการให้ผลผลิตปาล์มน้ำมันในภาคใต้ของประเทศไทย Thai Agricultural
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์; อยุทธ์ นิสสภา; รัตนา สังสิทธิสวัสดิ์.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
Tipo: Technical Report Palavras-chave: ปาล์มน้ำมัน.
Ano: 2011 URL: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7326
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
การประเมินความแปรปรวนของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมัน ที่เพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งและในอาหารเหลวโดยเทคนิค RAPD และ SSR Thai Agricultural
Anchalee Arthipatjaporn; Sompong Te-chato.
Effects of types of medium on somaclonal variation of the embryogenic callus of oil palm wereinvestigated. The calli were cultured either on solidified or in liquidified MS medium supplemented with dicamba at different concentrations and subcultured at monthly intervals for 3 months. The results showed that the maximum growth of the callus at 0.333 gram fresh weight (gFW) and 1.191 gFW were obtained from the solidified and liquidified medium containing 0.1 mg/l dicamba, respectively. Verification of somaclonal variation in embryogenic callus raised on both types of culture media was detected by RAPD and SSR techniques. The RAPD technique revealed that 6 primers namely OPA-03, OPAB-01, OPAB-09, OPAB-14, OPR-11 and OPT-06 gave clear DNA patterns with...
Tipo: Collection Palavras-chave: Oil Palm; SSR techniques; Plant genetics; DNA; RAPD techniques; ปาล์มน้ำมัน; เอ็มบริโอเจนิคแคลลัส; การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช; พันธุกรรมพืช; เครื่องหมายโมเลกุล; อาหารแข็ง; อาหารเหลว; ความแปรปรวนทางพันธุกรรม.
Ano: 2012 URL: http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5277
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
ความสำคัญของการพัฒนาปาล์มน้ำมัน: เพื่อใช้ในการเพิ่มผลผลิตของพลังงานทดแทน Thai Agricultural
Anek Limsriwilai.
Tipo: Collection Palavras-chave: Oil palm; ปาล์มน้ำมัน; พืชพลังงาน; พลังงานทดแทน; การปรับปรุงพันธุ์; การเพิ่มผลผลิต.
Ano: 2011 URL: http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5155
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
การศึกษาปัญหาทางพืชกรรมปาล์มน้ำมันในประเทศไทย Thai Agricultural
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์; อนุชิต ชินาจริยวงศ์; รัตนา อุทยานุกูล.
Tipo: งานวิจัย Palavras-chave: ปาล์มน้ำมัน.
Ano: 2012 URL: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/5296
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการถ่ายยีนเข้าสู่ปาล์มน้ำมัน Thai Agricultural
Potjamarn Suraninpong; Supawadee Tawaro; Sompong Te-chato.
ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ให้ปริมาณน้ำมันสูง พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย การขยายพื้นที่ปลูกไปในภาคต่างๆ จำเป็นต้องหาพันธุ์ที่เหมาะสม ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันด้วยเทคนิคการถ่ายยีน โดยนำเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันที่ชักนำจากใบอ่อนของต้นที่ให้ผลผลิตสูง มาเลี้ยงบนอาหารเติมสารปฏิชีวนะชนิดและความเข้มข้นต่างๆ เพื่อหาความเข้มข้นที่เหมาะสมต่อการถ่ายยีน ผลการศึกษาพบว่า ไฮโกรมัยชิน คานามัยซิน และ ฟอสฟิโนทริซิน ความเข้มข้น 20 200 และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ เหมาะสมที่จะนำใช้คัดเลือกเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสที่ได้รับการถ่ายยีน และซีโฟทาซีม ความเข้มข้น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร เหมาะสมที่จะนำมาใช้กำจัดเชื้ออะโกรแบคทีเรีย ส่วนการศึกษาระยะเวลาการบ่มเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสร่วมกับเชื้อ...
Tipo: Collection Palavras-chave: Agrobacterium tumefaciens; Oil palm; Gene transfer; Embryogenic callus; Antibiotic; ปาล์มน้ำมัน; การถ่ายยีน; สารปฏิชีวนะ; เอ็มบริโอเจนิคแคลลัส; ระดับความเข้มข้น; แถบดีเอ็นเอ; ใบอ่อน.
Ano: 2011 URL: http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5166
Imagem não selecionada

Imprime registro no formato completo
การวิเคราะห์ปริมาณบีตา-แคโรทีนในผลปาล์มน้ำมันแบบรวดเร็ว Thai Agricultural
Sirinapha Khongcharean; Weeraphan Sridokchan; Patcharin Tanya; Pornsiri Liengsakul; Ronarit Ritiron.
ผลปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งบีตา-แคโรทีนทางธรรมชาติที่สำคัญ ยังไม่มีรายงานถึงปริมาณบีตา-แคโรตีนในพันธุ์ปาล์มน้ำมันต่างๆ ที่ปลูกในประเทศไทย รวมถึงการวิเคราะห์หาปริมาณบีตา-แคโรทีนแบบรวดเร็ว วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อวิเคราะห์ปริมาณบีตา-แคโรทีน ในผลปาล์มน้ำมันพันธุ์ต่างๆ ใน 2 พื้นที่ปลูก ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศ การวิเคราะห์แบบรวดเร็วโดยวิธีสเปกโตรสโกปีแบบ NIR เทียบกับวิธีสเปกโตรสโกปีแบบ UV-Vis ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐานที่ใช้ในการอ้างอิง เพื่อนำมาสร้างสมการเทียบมาตรฐานหาปริมาณบีตา-แคโรทีน ในตัวอย่างผลปาล์มน้ำมันสด พบค่าเฉลี่ยปริมาณบีตา-แคโรทีนในผลปาล์มน้ำมันตั้งแต่ 1.04 – 15.42 mg/100g fw ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติตามพันธุ์ปาล์มน้ำมัน ค่าเฉลี่ยของบีตา-แคโรทีนในกลุ่มตัวอย่างทางใต้ของประเทศมีค่าสูงกว่าในจังหวัดกาญจนบุรี คือ 9.41 และ...
Tipo: PhysicalObject Palavras-chave: Oil palm; Beta-carotene; NIR spectroscopy; Near Infrared spectroscopy; UV-Vis spectroscopic; Fast analysis; High performance liquid chromatography; HPLC; Calibration set; ปาล์มน้ำมัน; สายพันธุ์; บีต้าแคโรทีน; สารธรรมชาติ; การวิเคราะห์แบบรวดเร็ว; สมการเทียบมาตรฐาน; สเปกโตรสโกปี; เทคนิคโครมาโตกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง; สารชีวโมกุล.
Ano: 2014 URL: http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5753
Registros recuperados: 9
Primeira ... 1 ... Última
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional